26/1/56

วิธีการสอนภาษาที่เน้นเนื้อหา (CBI)


วิธีสอนภาษาที่เน้นเนื้อหา (CBI- Content-based Instruction)


Brinton, Snow และ Wesche (1989) ให้คำอธิบายเกี่ยวกับการสอนภาษาโดยใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษา หรือที่เรียกว่า Content – Based Instruction (CBI)วิธีการสอนภาษาที่เน้นเนื้อหาเป็นการสอน ที่ประสานเนื้อหาเข้ากับจุดประสงค์ของการสอนภาษาเพื่อการสื่อ สาร โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการศึกษาเนื้อหา พร้อมกับพัฒนาภาษาอังกฤษเชิงวิชาการผู้สอนที่ใช้แนวการสอนแบบนี้เห็นว่าครู ไม่ควรใช้เนื้อหาเป็นเพียงแบบฝึกหัดทางภาษาเท่านั้น แต่ครูควรฝึกให้ผู้เกิดความเข้าใจสาระของเนื้อหา โดยใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือ ครูจะใช้เนื้อหากำหนดรูปแบบของภาษา (Form) หน้าที่ของภาษา (Function) และทักษะย่อย (Sub – Skills) ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องรู้เพื่อที่จะเข้าใจสาระของเนื้อหาและทำกิจกรรมได้ การใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษานี้จะทำให้ครูสามารถสร้างบทเรียน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริงได้มากที่สุด ทั้งนี้ครูจะต้องเข้าใจการสอนแบบบูรณาการหรือทักษะสัมพันธ์ ตลอดจนเข้าใจเนื้อหาและสามารถ ใช้เนื้อหาเป็นตัวกำหนดบทเรียนทางภาษา (Brinton, Snow, Wesche, 1989)

สรุป
การสอนแบบ Content-based Instruction เป็นวิธีการสอนที่เน้นเนื้อหาเป็นการใช้เนื้อหากำหนดรูปแบบของภาษาหน้าที่ของภาษาและทักษะย่อยที่ผู้เรียนจำเป็นจะต้องเรียนรู้เพื่อให้เข้าใจสาระของเนื้อหาอย่างแท้จริงซึ่งการใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษาจะทำให้ครูสามารถสร้างบทเรียนสอดคล้องกับสถานการณ์จริงได้มาก

การสอนภาษาโดยใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษา(Content – Based Instruction) การเรียนภาษาต่างประเทศจะได้ผลมากที่สุดถ้าครูสอนให้ผู้เรียนใช้ภาษาในสถานการณ์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์จริง ทั้งครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาที่ม่งุให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ จะจัดการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์ที่เหมือนจริง ครูสอนภาษาต่างประเทศในประเทศไทยส่วนใหญ่สอนทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลในระดับพื้นฐาน (Basic Interpersonal Communication Skills) ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนฝึกการใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหน้าที่ (Functions) ในสถานการณ์ซึ่งครูจำลองให้เหมือนชีวิตประจำวันมากที่สุด เช่นการซื้อของ การถามหรือการบอกทิศทาง การแนะนำตัวเอง เป็นต้น การสอนลักษณะนี้จะช่วยให้ผู้เรียนสื่อสารได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจำนวนมากจะศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น ไม่ว่าจะศึกษาต่อในสาขาวิชาใดก็ตามผู้เรียนจำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (Academic English) เพื่อศึกษาหาความรู้และความก้าวหน้าทางวิทยาการ การสอนภาษาโดยเน้นเพียงการสื่อสารในชีวิตประจำวัน จึงไม่สามารถเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการใช้ภาษาอังกฤษในการศึกษาหาความรู้ต่อไปผู้เชี่ยวชาญทางด้านการสอนภาษา ได้ศึกษาเปรียบเทียบการเรียนภาษาเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ สรุปว่า ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในระดับพื้นฐานได้ หลังจากการเรียนในระยะเวลา 2 ปีแต่ผู้เรียนไม่สามารถใช้ภาษาเชิงวิชาการได้ (Grabe และ Stoller, 1997, Cummins, 1983, 1989) ซึ่งถ้าผู้เรียนต้องการพัฒนาทักษะภาษาเชิงวิชาการด้านพุทธิพิสัย หรือ Cognitive Academic Language Proficiency (CALP) จะต้องใช้เวลาเรียนถึง 7 ปี (Cummins 1983, 1989) นอกจากนี้ Cummins ยังอธิบายเพิ่มเติมว่า ถึงแม้ผู้เรียนส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใช้ภาษาอังกฤษ แต่ผู้เรียนย่อมจะมีโอกาสใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจึงควรเริ่มสอนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ โดยเน้นวิธีการสอนที่ใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษาในระดับมัธยมศึกษา
           
          Brinton, Snow และ Wesche (1989) ให้คำอธิบายเกี่ยวกับการสอนภาษาโดยใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษา หรือที่เรียกว่า Content – Based Instruction (CBI) ว่าเป็นการสอนที่ประสานเนื้อหาเข้ากับจุดประสงค์ของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการศึกษาเนื้อหาพร้อมกับพัฒนาภาษาอังกฤษเชิงวิชาการผู้สอนที่ใช้แนวการสอนแบบนี้เห็นว่าครูไม่ควรใช้เนื้อหาเป็นเพียงแบบฝึกหัดทางภาษาเท่านั้น แต่ครูควรฝึกให้ผู้เกิดความเข้าใจสาระของเนื้อหา โดยใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือ ครูจะใช้เนื้อหากำหนดรูปแบบของภาษา (Form) หน้าที่ของภาษา (Function) และทักษะย่อย (Sub – Skills) ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องรู้เพื่อที่จะเข้าใจสาระของเนื้อหาและทำกิจกรรมได้ การใช้เนื้อหาเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ภาษานี้จะทำให้ครูสามารถสร้างบทเรียนให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริงได้มากที่สุด ทั้งนี้ครูจะต้องเข้าใจการสอนแบบบูรณาการหรือทักษะสัมพันธ์ ตลอดจนเข้าใจเนื้อหาและสามารถ ใช้เนื้อหาเป็นตัวกำหนดบทเรียนทางภาษา (Brinton, Snow, Wesche, 1989)  แนวการสอนแบบนี้ ครูจะประสานทักษะทั้งสี่ให้สัมพันธ์กับหัวเรื่อง (Topic) ที่กำหนดในการเลือกหัวเรื่องครูจะต้องแน่ใจว่าผู้เรียนมีทักษะและกลวิธีการเรียน (Learning Strategies) ที่จำเป็นเพื่อที่จะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ การสอนภาษาแนวนี้เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะเป็นการฝึกกลวิธีการเรียนภาษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจความหมายของภาษาและสามารถนำกลวิธีนี้ไปใช้ได้ตลอด ส่วนเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน ครูสามารถปรับแต่งให้มีความหลากหลายมากขึ้น  กิจกรรมการเรียนการสอนในแนวนี้จะกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด และเกิดการเรียนรู้ โดยผ่านการฝึกทักษะทางภาษา กิจกรรมเป็นแบบทักษะสัมพันธ์ที่สมจริง ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้เรียนได้ฟังหรืออ่านบทความที่ได้จากสื่อจริง (Authentic Material) แล้วผู้เรียนไม่เพียงแต่ทำความเข้าใจข้อมูลเท่านั้น แต่จะต้องตีความและประเมินข้อมูลนั้น ๆ ด้วย ดังนั้นผู้เรียนจะต้องรู้จักการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อที่จะสามารถพูดหรือเขียนเชิงวิชาการที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ได้ จะเห็นได้ว่าผู้เรียนจะได้ฝึกทั้งทักษะทางภาษา (Language Skills) และทักษะการเรียน (Study Skills) ซึ่งจะเตรียมผู้เรียนให้พร้อมที่จะใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการในสถานการณ์จริงในอนาคต


การสอนแบบ CBI มุ่งเตรียมผู้เรียนให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อหาความรู้ทางวิชาการเพิ่มเติม ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่แตกต่างไปจากการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยมีแนวการเรียนการสอนที่สำคัญดังนี้ คือ
    - การสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner – Centered Approach)
    - การสอนที่คำนึงถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับภาษา (Whole Language Approach)
    - การสอนที่เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning)
    - การสอนที่เน้นการเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project – Based Learning)

นอกจากนี้ยังเน้นหลักสำคัญว่า ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ภาษาได้ดี ถ้ามีโอกาสใช้ภาษาในสถานการณ์ที่เหมือนจริง และผู้เรียนจะใช้ภาษามากขึ้นถ้ามีความสนใจในเนื้อหาที่เรียน ดังนั้นผู้เรียนจึงต้องนำเนื้อหาที่เป็นจริงและสถานการณ์การเรียนรู้ที่สมจริงมาให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษา เพื่อที่จะทำความเข้าใจสาระของเนื้อหา โดยผู้เรียนสามารถใช้พื้นความรู้เดิมของตนในภาษาไทยมาโยงกับเนื้อหาของวิชาในภาษาอังกฤษ และที่สำคัญที่สุด คือ แนวการสอนแนวนี้ฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น สามารถวิพากษ์วิจารณ์ข้อมูลที่ได้จากเนื้อหาที่เรียน และใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมได้ ฉะนั้นการเรียนการสอนวิธีนี้จึงเหมาะสมกับการสอนภาษาในระดับประถมศึกษา


Content-based Instruction in EFL Contexts

Introduction

Content based instruction (CBI) is a teaching method that emphasizes learningabout something rather than learning about language. Although CBI is not new, there has been an increased interest in it over the last ten years, particularly in the USA and Canada where it has proven very effective in ESL immersion programs. This interest has now spread to EFL classrooms around the world where teachers are discovering that their students like CBI and are excited to learn English this way.

What Types of Content Based Instruction Are There?

The Sheltered Model

Sheltered and adjunct CBI usually occurs at universities in English L1 contexts. The goal of teachers using sheltered and adjunct CBI is to enable their ESL students to study the same content material as regular English L1 students. Sheltered CBI is called "sheltered" because learners are given special assistance to help them understand regular classes. Two teachers can work together to give instruction in a specific subject. One of the teachers is a content specialist and the other an ESL specialist. They may teach the class together or the class time may be divided between the two of them. For example, the content specialist will give a short lecture and then the English teacher will check that the students have understood the important words by reviewing them later. This kind of team teaching requires teachers to work closely together to plan and evaluate classes. It has been used successfully at the bilingual University of Ottawa, where classes are taught in English and French, (Briton, 1989).  

The Adjunct Model

Adjunct classes are usually taught by ESL teachers. The aim of these classes is to prepare students for "mainstream" classes where they will join English L1 learners. Adjunct classes may resemble EPA or ESP classes where emphasis is placed on acquiring specific target vocabulary; they may also feature study skills sessions to familiarize the students with listening, note taking and skimming and scanning texts. Some adjunct classes are taught during the summer months before regular college classes begin, while others run concurrently with regular lessons.

The Theme Based Model

Theme based CBI is usually found in EFL contexts. Theme based CBI can be taught by an EFL teacher or team taught with a content specialist. The teacher(s) can create a course of study designed to unlock and build on their own students' interests and the content can be chosen from an enormous number of diverse topics.

How Does Theme Based CBI Differ from Sheltered and Adjunct Models?

Theme based CBI is taught to students with TEFL scores usually in the range 350 to 500. These scores are lower than the TEFL 500 score which is often the minimum requirement for students who want to study at universities in English L1 contexts. Because of the lower proficiency level of these students, a standard "mainstream" course, such as "Introduction to Economics" will have to be redesigned if it is to be used in a  theme based  EFL class. For example, complicated concepts can be made easier to understand by using posters and charts, (Mercerize, 2000, p.108).

Materials for theme based-CBI

There are textbooks that can be used for theme based CBI classes which usually contain a variety of readings followed by vocabulary and comprehension exercises. These can then be supplemented with additional information from the Internet, newspapers and other sources. However, another approach is to use specially constructed source books which contain collections of authentic materials or simplified versions. These can be about a particular theme such as drug use or care of the elderly, or about more general topics. It's possible to create some really interesting classroom materials as long as the need for comprehensibility is not forgotten.

Readability

The Flesch-Kincaid test is one method of measuring the readability of writing. Difficulty is assessed by analyzing sentence length and the number of syllables per word. Put simply, short sentences containing words with few syllables are considered to be the easiest to read. The Flesch-Kincaid test can also be used to assess the difficulty of texts for EFL students.  For students with scores below TOEFL 500, Flesh - Cinched scores in the range 5.0- 8.0 are appropriate. (By way of comparison this paper has a Flesch-Kincaid rating of 11.1). However, far more detailed research needs to be done in the area of assessing student responses to the readability of adapted materials. For example, the Flesch-Kincaid test assumes that passive constructions are more difficult for students to understand than active ones; however my own preliminary investigations have shown that removing passive verbs and replacing them with active ones does notnecessarily make the students feel that the text is any easier to read.

How can Theme Based CBI be assessed?

A theme based CBI course should have both content and language goals. Student progress can then be assessed when classes are underway. Continuous assessment is effective.  Daily quizzes can be used to check that content information is getting through to the students and that they are remembering important vocabulary.  Longer tests may also be given at mid-term and at the end of the term.

Journals are also a useful diagnostic tool. Students can be given time at the end of each class to write a summary of the content of the lesson or to answer a specific question given by the teacher. Another useful exercise is to allow the students to write freely on any topic; teachers can then read their work and assess their progress indirectly.

Direct oral feedback during the classes can be useful as long as we are mindful of the proficiency level of the students; it's all too easy to forget how difficult it is to speak a foreign language in front of classmates.

Summary

CBI is an effective method of combining language and content learning. Theme based CBI works well in EFL contexts, and I believe its use will increase as teachers continue to design new syllabi in response to student needs and interests. As I said at the beginning, I believe that learner motivation increases when students are learning about something, rather than just studying language. Theme based CBI is particularly appealing in this respect because teachers can use almost any content materials that they feel their students will enjoy. What can be better than seeing our students create something and learn language at the same time?


Example of CBI Teaching Model






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น